Considerations To Know About ยูโด มาจากภาษาอะไร



ยูโด (ญี่ปุ่น: 柔道; โรมาจิ: jūdō จูโด) เป็นกีฬาและศิลปะการต่อสู้ที่เกิดขึ้นในประเทศญี่ปุ่น มีต้นกำเนิดจากเทคนิคการต่อสู้ของยูโดชิ โดยการฝึกจูโดจะเน้นการใช้เทคนิคในการทำลายท่าต่อสู้ของคู่ต่อสู้ โดยการใช้ความสามารถในการควบคุมและบังคับคู่ต่อสู้ด้วยเทคนิคการทุบ ประกบ ล้ม และการใช้ความสมดุลร่างกายในการหลบหลีกและป้องกัน จูโดเป็นกีฬาที่สามารถเพิ่มพลังและความแข็งแกร่งของร่างกาย พัฒนาทักษะในการทำลายและป้องกัน และสร้างสมดุลระหว่างร่างกายและจิตใจ

ประวัติ
ยูยิสสู
ในประเทศญี่ปุ่นสมัยโบราณ ซึ่งเชื่อว่าตนเองเป็นลูกพระอาทิตย์ มีถิ่นที่อยู่บนเกาะใหญ่น้อยทั้งหลาย ราวๆ 3,000-4,000 เกาะ ประชากรส่วนใหญ่มีความคิดเห็นไม่ตรงกันและไม่สามารถรวมกลุ่มกันได้ ทำให้เกิดการแย่งชิงอำนาจ ผู้ที่ได้รับชัยชนะก็พยายามซ่องสุมเสริมสร้างกำลังพลให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้น ผู้ที่พ่ายแพ้ก็พยายามที่จะรวบรวมสมัครพรรคพวกที่พ่ายแพ้ขึ้นใหม่เพื่อรอจังหวะช่วงชิงอำนาจกลับคืนมา ในสมัยนั้นประเทศญี่ปุ่น มีแต่การทำสงคราม นักรบของแต่ละเมืองจะได้รับการฝึกฝนศิลปะการต่อสู้ที่ใช้ในสงครามหลายชนิด เช่น การฟันดาบ การยิงธนู การใช้หอก ทวน หลาว การขี่ม้า และยูยิสสู ซึ่งเป็นการต่อสู้ที่ใช้มือเปล่าในระยะประชิดตัว ไม่สามารถที่จะใช้อาวุธได้ถนัด การต่อสู้แบบยูยิสสูมิได้มุ่งที่จะทำให้คู่ต่อสู้มีอันตรายถึงชีวิต แต่มีจุดประสงค์เพื่อให้คู่ต่อสู้ได้รับบาดเจ็บและยอมแพ้ ถ้าไม่ยอมแพ้ก็อาจทำให้พิการทุพพลภาพ โดยใช้วิธีจับมือหักข้อต่อส่วนต่างๆ ของร่างกาย

นักรบญี่ปุ่นในสมัยนั้นจะต้องฝึกการต่อสู้วิชายูยิสสูทุกคน และต้องฝึกสมาธิควบคู่ไปด้วย ทุกคนจะต้องมีความตั้งใจในการฝึก มิฉะนั้นจะเป็นอันตรายได้ การทำร้ายคู่ต่อสู้ด้วยยูยิสสูไม่คำนึงถึงความเมตตาและศีลธรรม และใช้เทคนิคคอยหาโอกาสซ้ำเติมคู่ต่อสู้ตลอดเวลา จึงทำให้อาจารย์ที่ตั้งสถานที่ฝึกอบรมวิชานี้ พยายามคิดค้นประดิษฐ์ท่าทางกลวิธีแตกต่างกันออกไปอย่างอิสระ สถานที่เปิดฝึกสอนหรือที่เรียกว่าโรงเรียนสำหรับสอนวิชายิวยิตสูสมัยนั้นมีประมาณ 20 แห่ง

ส่วนการต่อสู้อีกประเภทหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้องกับการพัฒนาวิชายูโดคือ ซูโม่ ซึ่งเป็นกีฬาอีกประเภทหนึ่งของญี่ปุ่นที่เป็นที่นิยมแพร่หลาย ซูโม่เป็นการต่อสู้ของคน 2 คน ใช้มือเปล่าและกำลังกายเข้าทำการต่อสู้กันมาแต่สมัยโบราณกว่า 2,500 ปีมาแล้ว นักประวัติศาสตร์ในวิชายิวยิตสูได้สนใจซูโม่มาก จากหนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น ที่รวบรวมขึ้นภายใต้พระบรมราชโองการของพระจักรพรรดิ ชื่อ “นิฮงโชะกิ” ในปี พ.ศ. 1263 กล่าวถึงการแข่งขันในสมัยของจักรพรรด์ซุยนิน ก่อนคริสต์ศักราช 230 ปี (พ.ศ. 313) ยืนยันว่าเป็นการเริ่มต้นของวิชาซูโม่ ซึ่งแปลว่าการต่อสู้โดยใช้กำลังเข้าประลองกัน การต่อสู้ตามหลักวิชาซูโม่ บางท่าจะตรงกับวิชายิวยิตสู เช่น การใช้สะโพกเป็นกำลังบังคับขากวาดเหวี่ยงคู่ต่อสู้ให้เสียหลักล้มลงซึ่งท่านี้วิชายูยิสสูเรียกว่า ฮาราย กุชิ (Harai Goshi) เป็นการยืนยันว่าวิชาซูโม่มีความสัมพันธ์กับวิชายิวยิตสู

การพัฒนาวิชายิวยิตสูเป็นวิชายูโด
ในตอนปลายยุคเซ็งโงะกุ วิชายิวยิตสูได้มีการรวบรวมไว้เป็นแบบแผน ต่อมาเมื่อ ตระกูลโทะกุงะวะ ได้ทำการปราบเจ้าแคว้นต่างๆ ให้สงบลงอย่างราบคาบและตั้งตนเป็น โชกุน ปกครองประเทศญี่ปุ่น ได้มีการปรับปรุงวิชาการรบของพวกซะมุไร นอกจากวิชาการรบแล้ว ซะมุไรต้องเรียนหนังสือเพื่อศึกษาวิชาการปกครอง การอบรมจิตใจให้มีศีลธรรม ยิวยิตสูเป็นวิชาป้องกันตัวชนิดหนึ่งในสมัยนั้น จึงต้องมีการปรับปรุงวิธีการต่อสู้จากการไร้ศีลธรรมมาเป็นการป้องกัน การต่อสู้ด้วยกำลังกาย และกำลังใจอันประกอบด้วยคุณธรรม มีจรรยามารยาทที่สุภาพเรียบร้อยขึ้น เพื่อให้เหมาะสมกับคำว่า ยิวยิตสู ซึ่งหมายความถึง ศิลปะแห่งความสุภาพ

เมื่อมีการปรับปรุงบทบัญญัติทางศีลธรรมของนักรบให้รัดกุมนี้เอง ทำให้ช่วง 50 ปีของสมัยกาไน บันจิ และคันม่ง (Kanei Banji and Kanmon พ.ศ. 2167-2216) ได้มีผู้เชี่ยวชาญวิชายิวยิตสูขึ้นมามากมาย โดยมีวิชาที่เป็นแนวเดียวกับยิวยิตสูแต่ใช้ชื่อต่างกันจำนวนมาก เช่น ไทจุสึ , วะจุสึ, โคะงุโซะกุ หรือ เค็มโปะ เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดเป็นการต่อสู้ที่ทำให้คู่ต่อสู้พ่ายแพ้โดยใช้มือเปล่า ทำให้วิชายิวยิตสูเป็นที่นิยมมาตลอดสมัยโทะกุงะวะ

ต่อมาในยุคเมจิ ญี่ปุ่นได้รับอารยธรรมตะวันตกเข้าสู่ประเทศญี่ปุ่น ทำให้วัฒนธรรมประเพณีของญี่ปุ่นหลายอย่างกลายมาเป็นสิ่งล้าสมัยของต่างชาติ และชาวญี่ปุ่นสมัยใหม่ ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2414 จึงได้ออกกฎหมายห้ามนักรบใช้ซะมุไรเป็นอาวุธ ห้ามพกหรือสะพายดาบซะมุไร ยิวยิตสูซึ่งเป็นวิชาที่นิยมเล่นกับซะมุไร จึงถูกมองว่าเป็นสิ่งล้าสมัย เพราะทารุณ ป่าเถื่อน ฉะนั้นวิชายิวยิตสูจึงได้รับการปรับปรุงและแก้ไขพร้อมกันหลายอย่างในยุคเมจิ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ศิลปะการต่อสู้นานาชนิดรวมทั้งยิวยิตสูต้องซบเซาลง สถาบันที่เปิดฝึกสอนยิวยิตสู ซึ่งมีอยู่แพร่หลายได้รับกระทบกระเทือนถึงกับเลิกกิจการไปเป็นอันมาก

การกำเนิดวิชายูโด
หลังจากที่ญี่ปุ่นได้ปฏิวัติวัฒนธรรมในยุคเมจิ ทำให้วิชายิวยิตสูเสื่อมความนิยมลงจนหมด ต่อมาเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2403 ชาวญี่ปุ่นชื่อ คะโน จิโงะโร ชาวเมืองชิโรโกะซึ่งได้อพยพครอบครัวมาอยู่ในกรุงโตเกียว เมื่อปี พ.ศ. 2414 ขณะเมื่ออายุ 18 ปี ได้เข้าทำการศึกษาที่มหาวิทยาลัยโตเกียว ในสาขาปรัชญาศาสตร์ จนสำเร็จการศึกษา เมื่ออายุ 23 ปี ท่านคะโน จิโงะโร เป็นมีความเห็นว่าวิชายิวยิตสูนอกจากจะเป็นกีฬาสำหรับร่างกายและจิตใจแล้ว ยังมีหลักปรัชญาที่ว่าด้วยหลักแห่งความเป็นจริง

เมื่อท่านคะโน จิโงะโรได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับวิชายิวยิตสูอย่างละเอียดแล้วก็พบว่าผู้ฝึกวิชายิวยิตสูจนมีความชำนาญดีแล้ว จะสามารถสู้กับคนที่รูปร่างใหญ่โตได้ หรือสู้กับคนที่มีอาวุธด้วยมือเปล่าได้ จากการค้นพบทำให้บังเกิดความศรัทธาอย่างแรงกล้า ท่านจึงได้เข้าศึกษายิวยิตสูอย่างจริงจังจากอาจารย์ผู้สอนวิชายิวยิตสูหลายท่านจากโรงเรียนเท็นจิ ชินโย และโรงเรียนคิโตะ ในปี พ.ศ. 2425 ท่านคะโน จิโงะโร อายุได้ 29 ปี ได้ก่อตั้งโรงเรียนสำหรับวิชายูโดขึ้นเป็นครั้งแรกในบริเวณวัดพุทธศาสนา ชื่อวัดเอโชะจิ โดยตั้งชื่อสถาบันนี้ว่า “โคโดกัง ยูโด” โดยได้นำเอาศิลปะของการต่อสู้ด้วยการทุ่มจากสำนักเทนจิ ซิโย และการต่อสู้จากสำนักคิโตเข้ามาผสมผสานเป็นวิชายูโดและได้ปรับปรุงวิธีการยูโดให้เหมาะสม สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในระบอบการปกครองและสังคมในขณะนั้น ได้สอดแทรกวิทยาศาสตร์ใหม่ๆ คณิตศาสตร์ประยุกต์ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว จิตศาสตร์ และจริยศาสตร์เข้าด้วยกัน โดยได้ตัดทอนยิวยิตสู ซึ่งไม่เหมาะสมออก แล้วพยายามรวบรวมวิชายิวยิตสูให้เป็นหมวดหมู่มีมาตรฐานเดียวกันตามความคิดของท่าน และได้ตั้งระบบใหม่เรียกว่า ยูโด (Judo)

ในยุคแรก ท่านคะโน จิโงะโร ต้องต่อสู้กับบุคคลหลายๆ ฝ่ายเพื่อให้เกิดการยอมรับในวิชายูโด โดยเฉพาะจากบุคคลที่นิยมอารยธรรมตะวันตกบุคคลพวกนี้ไม่ยอมรับว่ายูโดดีกว่ายิวยิตสู จนในปี พ.ศ. 2429 กรมตำรวจญี่ปุ่นได้จัดการแข่งขันระหว่างยูโดกับยิวยิตสูขึ้น โดยแบ่งเป็นฝ่ายละ 15 คน ผลการแข่งขันปรากฏว่ายูโดชนะ 13 คน เสมอ 2 คน เมื่อผลปรากฏเช่นนี้ ทำให้ประชาชนเริ่มสนใจยูโดมากขึ้น ทำให้สถานที่สอนเดิมคับแคบจึงต้องมีการขยายห้องเรียน เพื่อต้อนรับผู้ที่สนใจ จนถึงปี พ.ศ. 2476 จึงได้ย้ายสถานที่ฝึกไปที่ ซูอิโดบาชิ (Suidobashi) และสถานที่นี้ในที่สุดก็เป็นศูนย์กลางของนักยูโดของโลกในปัจจุบัน

ในปี พ.ศ. 2455 ได้ก่อตั้งสหพันธ์ยูโดระหว่างประเทศขึ้น โดยมีประเทศต่างๆ ที่ร่วมก่อตั้งครั้งแรกประมาณ 20 ประเทศ และได้มีการตั้ง The Kodokun Cultural Society ในปี พ.ศ. 2465 ขึ้นหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2499 สหพันธ์ยูโดระหว่างชาติได้จัดให้มีการแข่งขันเพื่อความชนะเลิศยูโดระหว่างชาติขึ้น โดยอยู่ในการอำนวยการของสหพันธ์ยูโดระหว่างประเทศโคโดกัง และหนังสือพิมพ์อาซาอิซัมบุน

ลำดับเหตุการณ์
2425 คะโน จิโงะโร ก่อตั้งสถาบันโคโดกัง สำหรับใช้ฝึกอบรมวิชายูโดที่ศาลาในบริเวณวัด เออิโซ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่นเมื่อเดือนมิถุนายน
2429 ตำรวจนครบาลแห่งโตเกียว จัดการแข่งขันระหว่างนักยูโดของโคโดกัง และนัก ยิวยิตสูของสำนักต่าง ๆ จากการแข่งขัน 15 ครั้ง นักยูโดของสำนักโคโดกัง ชนะถึง 13 ครั้ง จึงทำให้ยูโดของโคโดกังได้รับการรับรองว่ามีประสิทธิภาพมากกว่ายิวยิตสูของสำนักอื่น ๆ
2436 ย้ายสำนักโคโดกัง จากวัดเออิโซ ไปตั้งที่ ซิโมโทมิกาซา
2476 ย้ายจาก ซิโมโทมิกาซา ไปตั้งที่ถนนซุยโดมัดซีในกรุงโตเกียว
2485 ก่อตั้งสหพันธ์ยูโด (Judo Federation)
2499 ก่อตั้งสหพันธ์ยูโดระหว่างชาติ
จัดการแข่งขันเพื่อความชนะเลิศยูโดระหว่างประเทศขึ้นเป็นครั้งแรก
สร้างภาพยนตร์เรื่อง Master of judo
วิชายูโด
คะโน จิโงะโร พบว่าวิชายิวยิตสูแบบดั้งเดิมนั้นไม่สามารถที่จะฝึกอย่างเต็มกำลังได้เนื่องเพราะว่าเทคนิคอันตรายต่างๆ เช่น การจิ้มตา การเตะหว่างขา การดึงผม และอื่นๆ อาจทำให้คู่ฝึกซ้อมบาดเจ็บสาหัสจากการฝึกได้ รวมทั้งการฝึกที่เรียกว่า กะตะ (การฝึกแบบเข้าคู่โดยทั้งสองฝ่ายรู้กันและฝึกตามท่าโดยที่ไม่มีการขัดขืนกัน) แต่เพียงอย่างเดียวก็ยังไม่ได้ประสิทธิภาพที่เพียงพอ เพราะเราจะไม่สามารถคาดหวังได้ว่าศัตรูของเราจะให้ความร่วมมือในท่าที่เราฝึกมาโดยที่ไม่มีการขัดขืน

ท่านจึงปรับปรุงการฝึกส่วนใหญ่ในโรงเรียนของท่านให้เป็นแบบ รันโดริ (RANDORI) คือการฝึกซ้อมแบบจริง โดยใช้แนวความคิดว่า นักเรียนสองคนใช้เทคนิคต่างๆที่ตนเรียนรู้เพื่อการเอาชนะอย่างเต็มกำลัง ทั้งนี้นักเรียนจะคุ้นเคยกับความรู้สึกต่อต้าน ขัดขืนจากคู่ต่อสู้ การฝึกแบบนี้นักเรียนจะสามารถพัฒนา ร่างกาย จิตใจและความคล่องตัวได้ดีกว่า เพื่อทำให้การฝึกซ้อมแบบรันโดริมีประสิทธิภาพมากขึ้น ท่าน คะโน จิโงะโร่ จำเป็นต้องเอาเทคนิครุนแรงที่ก่อให้เกิดอันตรายบางส่วนเช่น การชก เตะ หัวโขก ในจูจิสสุออกไป การล็อกสามารถกระทำได้เพียงแค่ข้อศอก ซึ่งปลอดภัยกว่าการล็อกสันหลัง คอ ข้อมือ หรือหัวไหล่ เขาเรียกการฝึกซ้อมแบบนี้ว่า ยูโด

ยูโดในปัจจุบันเป็นกีฬาสากลประเภทบุคคล มีหลักการและวัตถุประสงค์คือ มุ่งบริหารร่างกายและจิตใจให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยใช้แรงให้น้อยที่สุด เพื่อสวัสดิภาพและประโยชน์สุขร่วมกัน การฝึกยูโดต้องมีการฝึกการต่อสู้และป้องกันตัว ก็เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกได้ออกแรง ซึ่งเป็นหนทางก่อให้เกิดสมรรถภาพทางกายตามอุดมคติของท่านคะโน จิโงะโร ผู้ให้กำเนิดกีฬาประเภทนี้ว่า “Maximum Efficiency with minimum Effort and Mutual Welfare and Benefit” คือยูโดใช้วิธีการโอนอ่อนผ่อนตาม หรือที่เรียกว่า “ทางแห่งความสุภาพ” “Gentleness or soft way” ทำให้ได้เปรียบแก่ผู้ที่มีกำลังมากกว่าเป็นวิธีการที่ทำให้คนตัวเล็กกว่าน้ำหนักน้อยกว่าและกำลังด้อยกว่า สามารถต่อสู้กับผู้ที่อยู่ในลักษณะเหนือกว่าได้

เทคนิคของวิชายูโด
เทคนิคของวิชายูโดแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มดังนี้

นาเงวาซา (Nagewaza)เป็นเทคนิคเกี่ยวกับการทุ่ม มีท่าทุ่มที่เป็นพื้นฐานอยู่ 12 ท่า และแยกออกเป็นประเภทตามส่วนของร่างกายที่ใช้ทุ่มนั้นๆซึ่งได้แก่การทุ่มด้วยมือ การทุ่มด้วยสะโพก การปัดขา การทุ่มด้วยไหล่ การทุ่มด้วยสีข้างและหลัง
กะตะเมวาซา (Katamawaza) เป็นเทคนิคเกี่ยวกับการกอดรัดเพื่อให้หายใจไม่ออก การจับยึดและการล็อกข้อต่อ เป็นเทคนิคที่ใช้ขณะอยู่กับพื้นเบาะ (tatami) เพื่อให้คู่ต้อสู้ยอมจำนน กะตะเมะวาซายังสามารถแยกย่อยออกได้อีก 3 ประเภท คือ โอไซโคมิวาซา (Osaekomiwaza) ซึ่งเป็นเทคนิคเกี่ยวกับการกดล็อกบนพื้น ชิเมวาซา (Shimewaza) ซึ่งเป็นเทคนิคการรัดคอหรือหลอดลม และคันเซทสึวาซา (Kansetsuwaza) ที่เป็นเทคนิคในการหักล็อกข้อต่อให้คู่ต่อสู้ยอมจำนน
อาเตมิวาซา (Atemiwaza) เป็นเทคนิคเกี่ยวกับการชกต่อย ทุบตี ถีบถอง ส่วนต่างๆของร่างกายให้เกิดการบาดเจ็บ พิการ หรือถึงแก่ชีวิต ซึ่งวิธีการเหล่านี้จะใช้ในการต่อสู้ป้องกันตัวเท่านั้น และไม่เคยจัดการแข่งขัน
ระดับความสามารถของนักยูโด
ระดับความสามารถมาตรฐานของนักยูโดทั้งสองเพศ (ชาย-หญิง) ได้ถูกกำหนดขึ้นโดยมีสีของสายคาดเอวเป็นเครื่องหมาย ระดับความสามารถมาตรฐานดังกล่าวแบ่งออกได้เป็น 2 ระดับใหญ่ คือ

ระดับคิว (Kyu) คือระดับก่อนสายดำที่อาจเรียกว่า นักเรียน
ระดับดั้ง (Dan) คือระดับที่เรียกว่า ผู้นำ เป็นผู้ซึ่งมีความสามารถสูง ทั้งระดับนักเรียนและระดับผู้นำนี้ยังแบ่งออกเป็นระดับย่อยๆลงอีก โดยมีสีประจำแต่ละระดับไว้ซึ่งแต่ละประเทศกำหนดไม่เหมือนกัน
การกำหนดระดับของนักยูโดในประเทศไทยกำหนดไว้ดังนี้
รองสายดำ ชั้น 5 สายคาดเอวสีขาว
รองสายดำ ชั้น 4 สายคาดเอวสีเขียว
รองสายดำ ชั้น 3 สายคาดเอวสีฟ้า
รองสายดำ ชั้น 2 สายคาดเอวสีน้ำตาล
รองสายดำ ชั้น 1 สายคาดเอวสีน้ำตาลปลายดำ
สายดำ ชั้น 1 สายคาดเอวสีดำ
สายดำ ชั้น 2 สายคาดเอวสีดำ
สายดำ ชั้น 3 สายคาดเอวสีดำ
สายดำ ชั้น 4 สายคาดเอวสีดำ
สายดำ ชั้น 5 สายคาดเอวสีดำ
สายดำ ชั้น 6 สายคาดเอวสีขาวสลับแดง
สายดำ ชั้น 7 สายคาดเอวสีขาวสลับแดง
สายดำ ชั้น 8 สายคาดเอวสีขาวสลับแดง
สายดำ ชั้น 9 สายคาดเอวสีแดง
สายดำ ชั้น 10 สายคาดเอวสีแดง
สถานที่ฝึก (โดโจ)
สถานที่ฝึกยูโดจะต้องเป็นสถานที่กว้างขวาง อากาศถ่ายเทได้สะดวก ที่พื้นปูด้วยเบาะ (Tatami) วางอัดแน่นเป็นแผ่นเดียวกัน และมีผ้าคลุมให้ดึงอีกชั้นหนึ่ง โดยปกติเบาะยูโดหรือเสื้อยูโดแต่ละผืนจะมีขนาดยาว 6 ฟุต กว้าง 3 ฟุตและหนา 4 นิ้ว เบาะที่ใช้ฝึกนี้ต้องมีความยืดหยุ่นพอดีไม่อ่อนหรือแข็งเกินไป ถ้าอ่อนเกินไปจะทำให้พื้นผิวไม่เรียบทำให้เท้าพลิกแพลงได้ง่าย และทำให้การเคลื่อนไหวลำบาก แต่ถ้าแข็งเกินไปเวลาล้มอาจทำให้เกิดอันตรายได้ง่าย พื้นที่สำหรับปูเบาะยูโดที่เหมาะสมควรเป็นพื้นไม้ที่ยกสูงขึ้นโดยเฉพาะ ไม่ควรปูกับพื้นซีเมนต์หรือพื้นดินทีเดียว เพราะจะมีความยืดหยุ่นน้อยก่อให้เกิดการการบาดเจ็บได้ง่าย

เครื่องแต่งกาย (ยูโดงิ)
เครื่องแต่งกายในการฝึกยูโดต้องสวมชุดโดยเฉพาะที่เรียกว่า Judoji ซึ่งมีพื้นฐานมาจากการแต่งกายของชาวญี่ปุ่นมีลักษณะดังนี้

เสื้อ คล้ายเสื้อกิโมโน ถักด้วยด้ายดิบสีขาวหนาแข็งแรงทนทาน แต่อ่อนนิ่มไม่ลื่นมือ สามารถซักได้และใช้ได้นาน ส่วนแขนและลำตัวกว้างหลวม ตัวยาวคลุมก้น แขนยาวประมาณครึ่งแขนท่อนล่างเสื้อยูโดที่ดีต้องมีลักษณะเบาบางแต่แข็งแรง การเบาบางจะช่วยให้การระบายความร้อนในร่างกายดีขึ้น ประเทศญี่ปุ่นนับว่าเป็นประเทศผู้ผลิตเสื้อยูโดที่ดีที่สุดในโลก
กางเกง มีลักษณะคล้ายกางเกงจีนเป็นผ้าดิบเช่นกัน ที่เอวมีร้อยเชือกรัดเอว กางเกงต้องหลวมพอสบายยาวประมาณครึ่งขาท่อนล่าง
สายคาดเอว เป็นผ้าเย็บซ้อนกันหนาประมาณ 0.5 เซนติเมตร กว้างประมาณ 2 นิ้ว ยาวให้คาดเอวได้ 2 รอบ เหลือชายไว้ผูกเงื่อนพิรอด (Reef Knot) แล้วเหลือชายข้างละ 15 เซนติเมตร สำหรับสายคาดเอวนี้เป็นเครื่องแสดงระดับความสามารถมาตรฐานของนักยูโดด้วย
มารยาทของนักยูโด
วิชายูโดเป็นวิชาแห่งความสุภาพอ่อนโยน และห้องฝึกยูโดนั้นเป็นที่รวมของผู้ที่สนใจต่อความสุภาพ นอกจากนั้นห้องฝึกยูโดยังเป็นที่สำรวมร่างกายและจิตใจ ผู้ที่เข้าไปในห้องฝึกยูโดจึงควรสำรวมกิริยาวาจาให้สุภาพและเหมาะแก่สถานที่ เช่น ไม่พูดเสียงดังเกินไป ไม่กล่าวคำหยาบคาย ไม่ตลกคะนอง ไม่สูบบุหรี่ ไม่สวมรองเท้าขึ้นไปบนเบาะยูโด เป็นต้น ระหว่างการฝึกซ้อม หรือฟังคำบรรยายจากครูอาจารย์ควรฟังด้วยความเคารพ นอกจากนั้นควรเคารพเชื่อฟังคำแนะนำของครูอาจารย์ และปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของห้องฝึกที่กำหนดไว้โดยเคร่งครัด ทั้งนี้ก็เพื่อรักษาไว้ซึ่งระเบียบประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงาม กับทั้งเป็นการอบรมนิสัย มารยาทและจิตใจของตนเอง

วิธีการแสดงความเคารพ
การแสดงความเคารพตามหลักการของวิชายูโดมีดังต่อไปนี้

เมื่อถึงสถานที่ฝึก ต้องแสดงความเคารพสิ่งที่ตั้งบูชาประจำสถานที่ครั้งหนึ่งก่อน
ก่อนเริ่มฝึก เมื่อขึ้นบนเบาะต้องแสดงความเคารพต่อที่บูชาอีกครั้งหนึ่ง
ก่อนเริ่มฝึกซ้อมต้องแสดงความเคารพซึ่งกันและกัน และหลังจากยุติการฝึกซ้อมต้องเคารพกันอีกครั้งหนึ่ง
ก่อนเลิกฝึกต้องแสดงความเคารพที่บูชา
เมื่อเปลี่ยนเครื่องแต่งตัวแล้ว ก่อนจะกลับต้องแสดงความเคารพที่บูชาอีกครั้งหนึ่ง
วิธีทำความเคารพมี 2 วิธี คือ นั่งและยืน ส่วนวิธีเคลื่อนไหวในการแสดงความเคารพ เช่น ยืนแล้วจะกลับเป็นนั่ง หรือนั่งแล้วกลับยืน ตามปกติใช้ขาขวาเป็นหลักในการทรงตัว การเล่นยูโดยังมีหลักการและศิลปอื่นๆอีกมากมายอาทิ การอบอุ่นร่างกายและศิลปการล้ม การทรงตัวและการเคลื่อนไหว การทุ่ม เป็นต้น

การรับประทานซูชิ ขนบธรรมเนียม ขนมของประเทศญี่ปุ่น ขนมของประเทศที่ปุ่น ขนมญี่ปุ่น ขนมหวานญี่ปุ่น ของขลัง ของนำโชค ของหวาน ของเล่นญี่ปุ่น ความเชื่อ ชุดประจำชาติ บ้านมินิมอล ประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่น ละครหุ่น วัฒนธรรม วัฒนธรรมการกิน วัฒนธรรมญี่ปุ่น วันแห่งความรัก ศิลปะการต่อสู้ ศิลปะดั้งเดิมของประเทศญี่ปุ่น ศิลปะที่เก่าแก่ อาหารขึ้นชื่อของญี่ปุ่น อาหารขึ้นชื่อในญี่ปุ่น อาหารญี่ปุ่น อาหารญี่ปุ่นแบบดั้งเดิม อาหารญี่ปุ่นโบราณ อาหารทานง่าย อาหารทานเล่นญี่ปุ่น อาหารที่เป็นที่นิยม อาหารประจำเมืองญี่ปุ่น อาหารพื้นเมือง อาหารยอดนิยม อาหารยอดฮิต เครื่องปั้นดินเผา เครื่องราง เทศกาลใหญ่ในญี่ปุ่น เมนูยอดฮิต เมนูออเดิร์ฟชื่อดัง เมนูอาหารขึ้นชื่อ เมนูอาหารชั้นเลิศ เมนูเก่าแก่ของญี่ปุ่น

เคล็ดลับในการปรับปรุงการสะกดของคุณ

ผู้เล่นจับที่ผิดปกติและไม่โจมตีทันที

ขาพับด้านในและด้านนอก หรือต้นขา ตรงนี้ เป็นตรงที่เรียกได้ว่าหากใครโดนไปแล้วละก็ จะถูกเจาะ และมีอาการปวดแสบ ไม่อยากเดิน หมดแรงขาไปเลย  คู่ต่อสู้จะต้องระวังส่วนนี้ เป็นพิเศษ หากโดนเข้าไปแล้วโดนซ้ำเข้าไปอีก บอกได้ลยถึงกับต่อยต่อไม่ได้แน่นอน

กางเกง มีลักษณะคล้ายกางเกงจีนเป็นผ้าดิบเช่นกัน ที่เอวมีร้อยเชือกรัดเอว กางเกงต้องหลวมพอสบายยาวประมาณครึ่งขาท่อนล่าง

ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ลูกาผู้เผยแพร่ศาสนา: ประวัติและประวัติของลูกา

ผู้เล่นจะได้รับประโยชน์อย่างไม่แพ้กีฬาชนิดอื่น ๆ แล้วยังจัดเป็นกีฬาต่อสู้ด้วยมือเปล่า

Maitta – Opponent offers up as indicated verbally, with two or more faucets utilizing the hand or foot, or If your opponent will become unconscious. Maitta is usually assumed if a pinned participant attempts to flee The competition location.

บทความที่เกี่ยวข้อง : เทควันโด กีฬาสุดฮิตดีต่อลูกอย่างไร? เรียนเทควันโดได้ตั้งแต่อายุเท่าไร?

ยิวยิตสูสำหรับเด็ก ดีอย่างไร ฝึกได้แน่นอนแม้ลูกจะตัวเล็ก

สำหรับนักเรียนและผู้ปกครอง โปรไฟล์วิทยาลัย

 หน้าแรก คอมมูนิตี้ แท็ก คลับ เลือกห้อง ดูเพิ่มเติม

ศิลปะการแสดง สิบสองประเภทของการเต้นรำบอลรูม

สอนการใช้ท่าทุ่ม ท่าเชือด ท่าหัก ท่าล็อก ท่าต่อสู้บนพื้น เพื่อการต่อสู้และแข่งขัน





The Japanese martial art of Judo, which has its roots in Japan, has captured the minds and enthusiasm of enthusiasts worldwide. With a rich history and a set of distinctive principles make Judo into more than just a physical activity; it's a way of life.

History and Origins of Judo
2.1 The Birth of Judo
Judo, emerging in the late 1800s, originates from Japan. Crafted by Jigoro Kano, the art's purpose was to merge efficacious self-defense with mental and moral development.

Basic Principles of Judo
3.1 The Philosophy of Judo
At its core, Judo encourages the idea of yielding to conquer an opponent. It's not just about physical strength; it involves leveraging the opponent's force.

3.2 Judo Techniques and Throws
Judo's arsenal comprises throws, pins, and joint locks. When executed precisely, these techniques exhibit the elegance and efficiency of the art.

Benefits find more of Practicing Judo
4.1 Physical Fitness
Engaging in Judo enhances cardiovascular health, flexibility, and strength. The sport's dynamic nature ensures a comprehensive workout.

4.2 Mental Discipline
Judo instills mental fortitude, teaching practitioners to stay calm and focused under pressure. This discipline extends beyond the dojo into everyday life.

Judo Etiquette and Dojo Culture
Imbued with a strong sense of respect, Judo stresses etiquette within the dojo. From bowing to your partner to keeping things clean, the original source these practices foster a harmonious environment.

Judo Belts and Ranking System
Judo utilizes a colored belt system to signify a practitioner's skill level. Advancement through the ranks symbolizes more than technical prowess; it represents personal growth.

Famous Judo Practitioners
7.1 Jigoro Kano
As the founder of Judo, Jigoro Kano's vision shaped the art. His dedication to physical education and morality laid the foundation for generations.

7.2 Teddy Riner
A contemporary icon, Teddy Riner's dominance in the heavyweight division has elevated Judo's global profile.

Competitive Judo: Tournaments and Rules
8.1 Scoring in Judo
Judo matches are won through throws, pins, or submissions. Understanding the scoring system adds excitement to the experience for spectators.

8.2 Common Judo Penalties
Judo competitions enforce rigorous rules. Penalties due to infractions ensure fair play and adherence to Judo's principles.

Judo for Self-Defense
Judo's practical applications extend for self-defense. Techniques learned in the dojo empower individuals for self-protection in real-world scenarios.

Judo for Children: Benefits and Considerations
Introducing children to Judo encourages physical activity, discipline, and teamwork. Parents should consider suitable training for their age and supportive dojos.

Training for Judo: Tips for Beginners
11.1 Finding a Judo Dojo
Choosing the right dojo is crucial. A supportive environment and qualified instructors set the stage for a fulfilling Judo journey.

11.2 Essential Judo Gear
From the traditional Judo uniform to protective equipment, having the correct gear ensures a safe and pleasant training experience.

Common Misconceptions about Judo
Dispelling myths around Judo, like it being solely about physical strength, emphasizes Judo's nuanced and strategic art.

Judo and Its Influence on Other Martial Arts
Judo's principles have contributed various martial arts, contributing to evolving self-defense techniques and sportsmanship.

The Future of Judo: Trends and Innovations
Exploring how Judo adapts to modern times, including technological advancements and evolving training methodologies, keeps the art vibrant and relevant.

Conclusion
In conclusion, Judo's enduring appeal derives from its combination of physical prowess, mental discipline, and rich history. Whether pursued for fitness, self-defense, or competition, Judo offers a holistic journey of personal development.

FAQs
Is Judo suitable for all ages?

Absolutely! Judo can be adjusted for children and adults alike, fostering physical fitness and discipline.
Are there any specific clothing requirements for Judo?

Yes, practitioners wear a traditional Judo uniform, a garment designed for training and competition.
Can I learn Judo for self-defense purposes only?

Certainly. Judo's self-defense techniques are practical and effective in real-life situations.
How long does it take to earn a black belt in Judo?

The time to earn a black belt varies, but it typically entails years of dedicated practice and mastery.
Is Judo only about throws and takedowns?

While throws constitute a significant aspect, Judo also includes groundwork, pins, and joint locks, creating a well-rounded martial art experience.

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *